ร่วมบุญเป็นเจ้าภาพพิมพ์หนังสือ "การบ้าน 10 ข้อ เพื่อการบรรลุธรรม"
ร่วมบุญเป็นเจ้าภาพพิมพ์หนังสือ "การบ้าน 10 ข้อ เพื่อการบรรลุธรรม" โดย คุณครูไม่เล็ก สิ้นสุดส่งรายชื่อ วันอาทิตย์ที่ 8 ธันวาคม พ.ศ. 2556
วัดพระธรรมกายซีแอตเติล จัดงานบุญครบรอบ 101 ปี วันครูผู้คนพบวิชชาธรรมกาย
วัดพระธรรมกายซีแอตเติล ประเทศสหรัฐอเมริกา จัดงานบุญเนื่องในวาระครบรอบ 101 ปี วันครูผู้ค้นพบวิชชาธรรมกาย
พิธีตัดปอยผมโครงการอุปสมบทหมู่ครบรอบ 101 ปี วันครูผู้ค้นพบวิชาธรรมกาย
วัดพระธรรมกาย จังหวัดปทุมธานี ได้จัดพิธีตัดปอยผมและปลงผมนาคธรรมทายาทในโครงการอุปสมบทหมู่ครบรอบ 101 ปี วันครูผู้ค้นพบวิชาธรรมกาย โครงการ 3
ความหมายของ ธรรม ในคำว่า ธรรมกาย
ธรรม ในคำว่าธรรมกาย ที่เป็นพระนามหนึ่งของพระตถาคตนั้นจึงควรหมายถึง โลกุตตรธรรม คือ มรรค ผลนิพพาน ที่เมื่อเข้าถึงแล้ว สามารถเปลี่ยนแปลงปุถุชนให้เป็นอริยบุคคล และเปลี่ยนอริยบุคคลชั้นต้นให้เป็นอริยบุคคลเบื้องสูงขึ้นไปได้นั่นเอง
8 ข้อ ป้องกันตนเองจากสถานการณ์ไวรัสโคโรนาระบาดในปัจจุบัน
กฐิน 101 ปี คุณยายอาจารย์ฯ และกำหนดการงานบุญวันกฐิน 7 พฤศจิกายน พ.ศ. 2553
กำหนดการงานบุญ กฐิน 101 ปี คุณยายอาจารย์ฯ วันอาทิตย์ที่ 7 พฤศจิกายน พ.ศ. 2553 ณ วัดพระธรรมกาย จ. ปทุมธานี
ได้พรจากหลวงปู่ 3 ข้อ
คุณวรวรรณ ถนอมพงษ์ เล่าประสบการณ์ที่เธอได้พรจากหลวงปู่ พระมงคลเทพมุนี (สด จนฺทสโร) 3 ข้อ จนผ่านพ้นช่วงตกต่ำที่สุดในชีวิตมาได้
คุณยายอายุ 101 ปี เคยเห็นพระพุทธเจ้าเหนือโบสถ์
หญิงคนหนึ่ง เป็นผู้หญิงที่สวยที่สุดในหมู่บ้าน เป็นคนฉลาด มีอารมณ์ขัน มีมนุษย์สัมพันธ์ดี เธอได้พบหมู่คณะโดยการชักชวนของลูกสาว เธอมีโอกาสได้เทปูน และช่วยทำงานในการสร้างโบสถ์ของวัดพระธรรมกาย อีกหลายอย่างเท่าที่เธอจะช่วยได้ ในการเวียนเทียนรอบโบสถ์เป็นปีแรก เธอได้เห็นพระพุทธเจ้าลอยอยู่เหนือโบสถ์ สร้างความปีติให้เธอเป็นอย่างมาก...บุญมีผลต่อเราอย่างไร ทั้งในโลกนี้และโลกหน้า ที่นี่มีคำตอบให้กับทุกๆท่าน...
พิธีบรรพชาโครงการบูชาธรรมรุ่น 101 ปี วันครูผู้ค้นพบวิชชาธรรมกาย
วัดพระธรรมกาย จังพิธีบรรพชาและอุปสมบทโครงการบูชาธรรม รุ่น 101 ปี วันครูผู้ค้นพบวิชชาธรรมกาย
ธุดงค์ธรรมชัยกับการปฏิบัติธุดงควัตร
ธุดงควัตร เป็นพุทธประเพณีที่ถือปฏิบัติมาตั้งแต่สมัยพุทธกาล เนื่องจาก ธุดงค์ คือ บทฝึกตนในการ กำจัดกิเลสทางพระพุทธศาสนาแบบเฉียบพลัน ที่เรียกว่า ธุตังคะ มีทั้งหมด 13 ข้อ โดยผู้ปฏิบัติจะได้ฝึกความ อดทน และใช้ความเพียรสูง กว่าปกติ ซึ่ง พระสัมมาสัมพุทธเจ้าไม่ได้บัญญัติให้การถือธุดงค์เป็นข้อบังคับ คือ ใครจะถือก็ได้ หรือไม่ถือก็ได้ แต่พระองค์ทรงอนุญาตให้ทำได้ เพราะเป็นข้อปฏิบัติที่เกื้อกูลและสนับสนุนให้ บรรลุธรรมง่ายขึ้น